แม้ไมโครกรีนกับต้นอ่อนจะมีลักษณะที่คล้ายกัน แต่สิ่งที่ไม่เหมือนกันก็คือไมโครกรีนเป็นต้นอ่อนที่มีระยะการเจริญเติบโตต่อมาอีกระยะหนึ่งหลังจากรากเพิ่งงอกออกมาจากเมล็ดและมีใบจริงประมาณ 2 – 3 ใบ ใช้ระยะเวลาในการเก็บเกี่ยวประมาณ 1 – 2 อาทิตย์ มีความสูงประมาณ 2 – 3 นิ้ว พืชผักที่นำมาปลูกไมโครกรีนได้มีหลากหลายชนิด โดยผักที่นิยมนำมาปลูก เช่น คะน้า ผักชี ผักบุ้ง ทานตะวัน นอกจากนี้ผักพื้นบ้านของไทยก็ยังสามารถมาทำเป็นไมโครกรีนได้ เช่น ผักขี้หูด กระถิน ผักปลัง ผักโขม และโสน
ไมโครกรีนไม่ใช่ชื่อขอมันนะ ไมโคกรีน คือ ผัก, สมุนไพร และเหล่าดอกไม้ที่ทานได้บางชนิดที่เราเก็บเกี่ยวเค้าในช่วงก่อนที่จะโตเป็นต้นใหญ่ ถึงมันจะมีไซส์เล็กแต่คุณค่าทางอาหาร และรสชาติกลับสวนทาง ผัก สมุนไฟร ดอกไม้อะไรบ้างที่มีขายในแบบไมโครกรีนส่วนใหญ่ที่เห็นที่บ้านเราชัดๆก็จะมี
สารอาหารที่ได้จากเมล็ดไมโครกรีน
ถึงไมโครกรีนนั้นจะจิ๋วแต่จากงานวิจัยต่างๆล้วนบอกว่ามันเปี่ยมไปด้วยสารอาหารอันแสนจะมีคุณค่า ไมโครกรีนของผักบางชนิดถือว่าเป็น Super food เลยทีเดียว กระทรวงเกษรของประเทศอเมริกาเคยบอกว่าไมโครกรียนในผักบางชนิดกักเก็บสารอาหารไว้มากกว่าตอนที่มันโตเต็มวัยเสียอีก อย่างกะหล่ำปลีแดง
ไมโครกรีน เราเก็บมาบริโภคในระยะที่พืชยังเป็นเพียงต้นอ่อนเท่านั้น คือมีใบเลี้ยงคู่แรกสมบูรณ์ เมล็ดพันธุ์ผัก หรือบางชนิดเราก็จะเก็บระยะมีใบจริงใบแรกในขนาดที่ยังเล็กเท่านั้น
หากการเพาะเมล็ดชนิดนั้นๆใช้เวลาเพียงสั้นๆ คุณก็สามารถใช้วัสดุเพาะนั้นได้อีกรอบ เพราะอายุการใช้งานพีทมอสในการเพาะเมล็ดพืชโดยประมาณคือ 21 วัน แต่หลังจากรอบที่สองขอแนะนำให้นำพีทมอสนั้นไปโรยโคนต้นไม้ หรือใช้เป็นส่วนผสมของดินปลูกผัก ปลูกดอกไม้อื่นๆต่อไป
โทร. 061-565-9542
Email : black_hua_juk@hotmail.com ตลอด24ชม.7วัน
Line ID : @jfarmshop (อย่าลืมเติม @)